บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก เมษายน, 2019

เข่าลั่น เข่าเสื่อม ไม่สูงอายุก็เป็นได้ ให้ JoinPlu ช่วยสิคะ

รูปภาพ
    เคยเป็นกันบ้างไหม เวลานั่งนานๆ แล้วลุก จะมีเสียงดังก๊อบ หรือ ก๊อบแกร๊บ ซึ่งเป็นเสียงดังจากหัวเข่าเรานี่เอง   มักจะเรียกกันว่า " เข่าลั่น หรือ เข่าเริ่มเสื่อม "  อาการแบบนี้ส่วนมาก เราคิดว่าจะเกิดเฉพาะผู้สูงอายุเท่านั้นใช่หรือเปล่า  แต่มันไม่ใช่อย่างที่คิดเลย มันสามารถเกิดได้กับทุกเพศ ทุกวัยจริง ๆ       จากประสงการณ์ตรง ส่วนตัวเองก็เกิดอาการแบบนี้อยู่เหมือนกัน บางทีเข่าก็ลั่น แต่ช่วงนี้ดังเป็นพิเศษ  จนบางครั้งก็อาย เวลาอยู่ในที่เงียบๆ กับคนหมู่มาก แล้วตัวเองก็ขยับตัว เสียงมันฟ้องเลยอ่ะ น่าอายจริง ๆ   พยายามทานผักใบเขียว ผลไม้ หรือพวกปลาตัวเล็ก เพื่อเพิ่มแคลเซียมแล้วก็ตาม เสียงเข่าลั่นก็ยังไม่หายไปสักที  ก็เลยปล่อยเลยตามเลยไป  แต่ก็อดสงสัยไม่ได้ว่าทำไมถึงเป็นแบบนั้นได้  ลองศึกษาหาแหล่งข้อมูลจากเวบต่าง ๆ ที่น่าเชื่อถือได้ เช่น พวกสาระน่ารู้โรคเขาเสื่อม สัญญาณเตือนภัย  สาเหตุเพราะอะไรที่เป็น  วิธีดูแลถนอมเข่าของเรา เป็นต้น สัญญาณเตือนภัย เสี่ยงต่อการเป็นข้อเข่าเสื่อม สัญญาณเตือนภัย! เพศชาย หญิง อายุ 40 ปีขึ้นไป (ปัจจุบัน บางคนอายุยังไม่ถึง 40 ปี ก็เริ่มเป็

" D24 Orga " ปรับหุ่นเป๊ะ รับสงกรานต์ 💦

รูปภาพ
" D24 Orga " Healthy ขั้นกว่า คุณค่าจากออร์แกนิค         ปัญหาที่ใหญ่ที่สุดของผู้หญิง คือ น้ำหนักขึ้น และไม่ได้ขึ้นแบบธรรมดา ปาไปเกือบ 70 กิโลกรัมแล้ว!!(น้ำหนักก็จะขึ้นๆ ลงๆ แถวนี้) +กับส่วนสูง 162 เซนติเมตร ดูเหมือนจะเจ้าเนื้อเอามาก ๆ  จนบางครั้งเริ่มรู้สึกเวลาทำอะไรแล้วไม่คล่องตัว หรือเหนื่อยง่ายกว่าปกติ เช่น เดินเร็ว ๆ จากป้ายรถเมล์ไปที่ทำงาน , ขึ้นลงบันไดหลายๆ รอบ เป็นต้น และบางครั้งก็มีปัญหาเรื่องการขับถ่ายเข้ามาเกี่ยวด้วย ส่วนมากจะถ่ายวันเว้นวัน บางครั้ง 2 วันถ่ายที รู้สึกอึดอัดมาก เหมือนระบบเผาผลาญในร่างกายไม่ค่อยดี ก็เกิดการสะสมไขมันอีก...เฮ้อ      เราจะรู้ได้อย่างไรว่าน้ำหนัก และส่วนสูงไม่สมดุลกัน  หรือ อ้วนระดับไหน ??    เคยได้ยินพวกดัชนีมวลกายไหม  การวัดดัชนีมวลร่างกาย Body Mass Index (BMI) คือ อัตราส่วนระหว่าง น้ำหนักต่อส่วนสูง ใช้วัดว่า อ้วน หรือ ผอม     ความสำคัญของการรู้ค่าดัชนีมวลร่างกาย เพื่อดูอัตราการเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ  เพราะถ้าเป็นโรคอ้วนแล้ว จะมีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจขาดเลือด และโรคน